เครื่องมือคำนวณเพื่อเตรียมพร้อม
สำหรับชีวิตหลังเกษียณ
ให้คุณวางแผนการออมเพื่อใช้ชีวิตหลังเกษียณ
อย่างมีความสุขและพึ่งตนเองได้
วางแผนเกษียณ
ปีที่เริ่มทำงาน (พ.ศ.)
ปีเกิด (พ.ศ.)
ปัจจุบันอายุ (ปี)
จะเกษียณตอนอายุ (ปี)
ปีที่ครบเกษียณอายุ (พ.ศ.)
คุณต้องการใช้เงินหลังเกษียณอีกกี่ปี (ปี)
รายได้เมื่อเริ่มทำงาน (บาท)
เลือกกองทุนที่คุณมี
กองทุนประกันสังคม บังคับตาม กม. สำหรับภาคเอกชน (ในที่นี้ สมมติตาม ม.33)
หักประกันสังคม (ตนเอง)บาท/เดือน
หักประกันสังคม (สมทบ)บาท/เดือน
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เสมือนสวัสดิการที่หน่วยงานหามาให้ (มีหรือไม่ก็ได้)
สะสม (ตนเอง)ของเงินเดือน
สมทบ (นายจ้าง)ของเงินเดือน
เงินสะสม+สมทบ บาท/เดือน
ผลตอบแทนกองทุน ต่อปี
กอช. สำหรับอาชีพอิสระ ไม่มีนายจ้าง หรือ ไม่มีอาชีพ / เป็นผู้ประกันตนมาตรา 40 สามารถสมัครได้
(กอช. สมมติให้ออมเดือนละ 500 บาทช่วงอายุที่ออมตามอายุปัจจุบัน)
เงินลงทุน/เงินออมอื่นๆ หมายถึง เงินออมอื่นๆ (มีหรือไม่มีก็ได้)
เงินออมตั้งต้น บาท/เดือน
อัตราดอกเบี้ย ต่อปี
ระยะเวลา ปี
เงินลงทุนเพิ่มในแต่ละเดือน บาท/เดือน
เงินชดเชยตาม กม.แรงงาน (สำหรับเอกชน) / เงินชดเชยเลิกจ้าง เนื่องจากเกษียณอายุ (องค์การมหาชน,หน่วยงานภาครัฐ) แต่การจ่ายค่าชดเชยจะแตกต่างกันออกไปตามข้อบังคับของหน่วยงานนั้นๆ
เงินสมทบชราภาพ บาท
จะเกษียณอายุ (ปี)
0
อายุงาน (จนเกษียณ)
0
จำนวนปีที่ต้องการ
ใช้เงิน
(หลังเกษียณ)
มูลค่าเงิน
ในอนาคต
เทียบเป็น
มูลค่าปัจจุบัน
ประกันสังคม
(บาท/เดือน)
(บาท/เดือน)
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
(บาท)
(บาท)
กองทุนการออมแห่งชาติ
(บาท/เดือน)
(บาท/เดือน)
กองทุน/เงินออมอื่นๆ
(บาท/เดือน)
(บาท/เดือน)
เงินชดเชย
(บาท)
(บาท)
เงินใช้หลังเกษียณ (บาท/เดือน)
สมมติฐานการคำนวณ
- เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน สมมติให้เงินเดือนปรับเพิ่มขึ้นเฉลี่ยเดือนละ 1,000 บาทตามระยะเวลาการทำงาน
- การคำนวณเงินเกษียณอายุประกันสังคมหรือเงินบำนาญชราภาพจะขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่ส่งเงินสมทบ สมมติให้เท่ากับอายุงานจนถึงเกษียณ
- กอช. สมมติให้ออมเดือนละ 500 บาท ช่วงอายุที่ออมตามอายุปัจจุบัน
- อัตราคิดลดมูลค่าปัจจุบัน 3%