โครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง
(Teacher and School Quality Program: TSQP)

ยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้สามารถพัฒนาตนเองได้ทั้งระบบ
(Whole School Approach) ทั้งด้านการพัฒนาคุณภาพของระบบบริหารจัดการ
และการเรียนการสอนที่มีคุณภาพสูงในชั้นเรียน เพื่อพัฒนานักเรียนให้เกิดสมรรถนะในศตวรรษที่ 21

เป้าประสงค์ของโครงการ

กรอบแนวคิดการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนทั้งระบบ

องค์ประกอบและมาตรการสนับสนุน
“โรงเรียนพัฒนาตนเอง”

แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์

การวิจัยเชิงปฏิบัติการให้เห็นผลเป็นรูปธรรมที่มุ่งหวังการขยายผลได้โดยหน่วยงานต้นสังกัด

เป้าหมายการดำเนินงานตามกรอบการดำเนินงานปี 2564

สร้างโครงการ/การวิจัยและสร้างความรู้พื้นฐาน Generate Interventions

สร้างโครงการ/การวิจัยและสร้างความรู้พื้นฐาน
  • สร้างองค์ความรู้ในการพัฒนาโรงเรียนจากนวัตกรรมทั้งในและต่างประเทศ
  • วัดผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียน
  • วิจัยและพัฒนาโรงเรียนต้นแบบและแกนนำ
  • จัดทำระบบดูแลและช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง

ทดลอง พัฒนาต้นแบบ
Pilot & Incubate

สร้างโครงการ/การวิจัยและสร้างความรู้พื้นฐาน
  • มีระบบสารสนเทศคุณภาพเพื่อการพัฒนาโรงเรียนในเครือข่าย
  • ระบบช่วยเหลือครูและนักเรียนในสถานการณ์โควิด-19

ขยายผลและเพิ่มจำนวนกลุ่มเป้าหมาย
Scale & Accelerate

  • ภายใต้โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายเดิม 727 แห่ง
  • ผ่านความร่วมมือของหน่วยงานต้นสังกัด สพฐ. อปท. และ สช.

ผลักดันเชิงนโยบาย
Advocate

  • สื่อสารผลงานควบคู่กับนโยบายสู่หน่วยงานต่าง ๆ และในระดับสังคม
  • จัดทำข้อเสนอขับเคลื่อนเชิงนโยบาย
  • ผลักดันให้เกิดการนำไปใช้และขยายผลเชิงระบบ

ติดตามผล ประเมินผล
Monitor & Evaluate

  • ติดตามและประเมินผลเชิงคุณภาพระดับเครือข่าย และตัวโรงเรียน
  • ถอดบทเรียนเชิงกระบวนการเพื่อพัฒนา
  • ประเมินและวิเคราะห์ผล (ด้านผลผลิตและผลลัพธ์)

โครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง
(Teacher and School Quality Program: TSQP)

มุ่งเน้นการเพิ่มขีดความสามารถของโรงเรียนให้สามารถพัฒนาตนเองได้ทั้งระบบ (Whole School Approach) ทั้งด้านการพัฒนาคุณภาพของระบบบริหารจัดการ

แนวทางการดำเนินงาน

ส่วนที่ 1 กระบวนการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนทั้งระบบ

  • การสนับสนุนโรงเรียนเป้าหมาย
    ซึ่งพัฒนาคุณภาพด้วยมาตรการที่กำหนดไว้ในโครงการ TSQP และประยุกต์นวัตกรรมด้านการเรียนการสอน จากเครือข่ายร่วมพัฒนาทั้ง 11 เครือข่ายอย่างต่อเนื่อง
  • การสนับสนุนการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Q-Info)
    ให้มีประสิทธิภาพ สนองต่อความต้องการและการดำเนินงานของโรงเรียนทั้งระบบ รวมไปถึงเชื่อมโยงกับหน่วยงานต้นสังกัดและหลักสูตรฐานสมรรถนะ

ส่วนที่ 2 กระบวนการวิจัย ติดตาม
ถอดบทเรียนเพื่อการสื่อสารและขยายผล

  • การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน และการประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation)
  • การสนับสนุนให้เกิดการขยายผลจากโรงเรียนต้นแบบที่มีความพร้อมสูง
  • การนำเครื่องมือที่ได้จากการวิจัยมาใช้วัดผล
  • การวิจัยเพื่อเก็บเกี่ยวผลการศึกษา
  • การจัดให้มีการสื่อสารสังคม (Public Advocacy)
  • การถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ

TSQP กับการยกระดับเป้าหมายเพื่อความท้าทาย ปี 2564

เป้าหมายระดับนโยบาย (Ultimate goal)

ลดอัตราการหลุดออกจากระบบการศึกษา

ลดภาวการณ์เรียนรู้ถดถอย

เพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ

ดูแลช่วยเหลือและพัฒนาต่อเนื่องตามตามศักยภาพของเด็ก/เยาวชน

ผลผลิต Output

มีระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนและนักเรียนได้เป็นรายบุคคล

เกิดข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับโรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษา

ครูสามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพิ่ม Active Learning

สื่อเผยแพร่ความรู้ สร้างการรับรู้ในระดับโรงเรียน และเครือข่าย

โรงเรียนต้นแบบ ร้อยละ 10 เป็นแกนนำโรงเรียนพัฒนาตนเองและเป็นศูนย์เรียนรู้เพื่อขยายผล

ผู้บริหารและผู้อำนวยการ มีภาวะในการเป็นผู้นำทางวิชาการ สามารถมีบทบาทในการ coaching ได้

ครูจำนวน 13,281 คน เกิดการพัฒนาตนเอง สามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุก และประเมินผลนักเรียนได้

โรงเรียนเป้าหมาย ร้อยละ 80 เกิดการพัฒนาคุณภาพได้ทั้งระบบ

ผลลัพธ์ Outcome

นักเรียน 174,364 คน มีผลการเรียนและทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 สูงขึ้น

นักเรียน 60,230 คน ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึงและได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ

อัตราขาดเรียนและการหลุดออกจากระบบการศึกษาลดลง

หน่วยงานต้นสังกัดในระดับพื้นที่และบุคลากรร่วมเรียนรู้และสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบาย

ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนและดูแลการศึกษาของนักเรียน

มีการเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ

ผลกระทบ Impact

นักเรียนสามารถดำเนินชีวิตได้ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกในศตวรรษที่ 21

คุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาของประเทศเกิดการพัฒนาสมรรถะการจัดการเรียนรู้ใหม่

นักเรียนสามารถเข้าถึงทรัพยากรและระบบการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างเท่าเทียม

การจัดการเรียนรู้แนวใหม่

เรื่องที่เกี่ยวข้อง

‘ครูต้องเป็นพื้นที่ปลอดภัย’ บันไดสี่ขั้นสู่การเป็นนักเรียนรู้และพัฒนาตนเอง : โรงเรียนวัดลัฏฐิวนาราม จ.ภูเก็ต
26 ธันวาคม 2566

‘ครูต้องเป็นพื้นที่ปลอดภัย’ บันไดสี่ขั้นสู่การเป็นนักเรียนรู้และพัฒนาตนเอง : โรงเรียนวัดลัฏฐิวนาราม จ.ภูเก็ต

‘ชุดคำถาม’ จุดเริ่มต้นกระบวนการเรียนรู้ที่เด็กออกแบบเอง : โรงเรียนบ้านโคกวัดใหม่ จังหวัดภูเก็ต
19 ธันวาคม 2566

‘ชุดคำถาม’ จุดเริ่มต้นกระบวนการเรียนรู้ที่เด็กออกแบบเอง : โรงเรียนบ้านโคกวัดใหม่ จังหวัดภูเก็ต

ห้องเรียนคณิตฯ คิดนอกกรอบ เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว บูรณาการความรู้สู่การร่วมปฏิบัติ : ครูนัฐพล หัสนี โรงเรียนเมืองถลาง จ.ภูเก็ต
19 ธันวาคม 2566

ห้องเรียนคณิตฯ คิดนอกกรอบ เชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยว บูรณาการความรู้สู่การร่วมปฏิบัติ : ครูนัฐพล หัสนี โรงเรียนเมืองถลาง จ.ภูเก็ต

ทักษะการเอ๊ะ! ของครู สู่การประเมินเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้ำเพชร นาสารีย์
19 ธันวาคม 2566

ทักษะการเอ๊ะ! ของครู สู่การประเมินเพื่อการเรียนรู้ของนักเรียน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น้ำเพชร นาสารีย์

‘ผอ. ต้องเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง’ ก้าวแรก ผอ.อลิสา กลิ่นหอม โรงเรียนวัดลัฏฐิวนาราม จ.ภูเก็ต
18 ธันวาคม 2566

‘ผอ. ต้องเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง’ ก้าวแรก ผอ.อลิสา กลิ่นหอม โรงเรียนวัดลัฏฐิวนาราม จ.ภูเก็ต

‘ครูไม่ปรับ เด็กไม่เปลี่ยน’ โจทย์ใหญ่ในการปั้นนักเรียนให้มีสมรรถนะ: โรงเรียนชุมชนวัดอ่าวช่อ จังหวัดตราด
13 ธันวาคม 2566

‘ครูไม่ปรับ เด็กไม่เปลี่ยน’ โจทย์ใหญ่ในการปั้นนักเรียนให้มีสมรรถนะ: โรงเรียนชุมชนวัดอ่าวช่อ จังหวัดตราด