Loading...
image
ข้อเสนอถึงผู้ใหญ่ที่รับผิดชอบ
อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้
ที่เสมอภาค
image
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างมีบทบาททำให้เด็กทุกคนเข้าถึงอินเทอร์เน็ตอย่างเสมอภาคกันมากขึ้นได้ ดังนี้
image
image
image
ต้องทำให้ประชาชนเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ทุกพื้นที่ของประเทศไทย
image
image
ต้องทำให้ทุกคนมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจซื้ออินเทอร์เน็ตที่เท่ากัน
image
image
ต้องสร้างมาตรการเชิงรุกไม่ให้ความยากจนเป็นอุปสรรคในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะเพื่อการเรียนรู้
image
image
image
จัดทำซิมเพื่อการศึกษา ซิมฟรี หรือ ซิมเน็ตที่มีราคาถูกที่สุดสำหรับนักเรียน
image
image
จัดทำโปรโมชันเมื่อนำเครื่องเก่าแลกเครื่องใหม่หรือส่วนลดเมื่อนำอุปกรณ์มือถือหรือแท็บเล็ตเครื่องเก่าที่ยังมีคุณภาพไปให้นักเรียนที่ต้องการใช้เรียน
image
image
image
ปรับลดอัตราค่าธรรมเนียมการเติมเงิน
image
image
ให้ข้อมูลราคาที่ครบถ้วนเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ เช่น จำนวนอินเทอร์เน็ตที่ได้รับในการเติมเงิน และอัตราค่าธรรมเนียมของแต่ละช่วงราคา เป็นต้น
image
image
มีช่องทางการร้องเรียนและให้ข้อมูลที่เข้าถึงได้สะดวก รวดเร็ว
image

อินเทอร์เน็ตเสมอภาคเพื่อเด็กไทยถึงไหนแล้ว?

image
ปัจจุบัน กสทช. เตรียมหารือผู้ประกอบการให้บริการตู้เติมเงินพิจารณามาตรการยกเว้นค่าธรรมเนียมสำหรับกลุ่มเด็กนักเรียนยากจนพิเศษ และมาตรการสนับสนุนอินเทอร์เน็ตให้กับกลุ่มนักเรียนในพื้นที่ห่างไกลทุรกันดาร
ให้อินเทอร์เน็ตเดินทางไปหาเด็ก
แทนที่เด็กต้องตามหาเน็ต
ช่วยให้ไม่หลุดออกจากระบบอินเทอร์เน็ต
=
ช่วยให้ไม่หลุดออกจากระบบการศึกษา
imageimage
ร่วมเชื่อมต่อการศึกษาให้เด็กไทยอีกครั้ง
Share
image
คำอธิบายข้อมูล
  • ข้อมูลการสำรวจและวิเคราะห์การใช้จ่ายด้านอินเทอร์เน็ตของนักเรียนทุนเสมอภาคในปี 2564 จัดทำโดยสำนักพัฒนาหลักประกันโอกาสทางการศึกษา กสศ. เมื่อปี 2564 ด้วยวิธีโทรศัพท์ ใน 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนยากจนพิเศษ ซึ่งหมายถึงนักเรียนจากครัวเรือนที่มีรายได้น้อยที่สุดของประเทศ เฉลี่ยเดือนละ 1,398.75 บาท จำนวน 1,541 คน และนักเรียนครัวเรือนทั่วไปซึ่งหมายถึงนักเรียนที่มาจากครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 11,799.21 บาท จำนวน 861 คน
  • ข้อมูลจำนวนจุดบริการไวไฟฟรี เป็นการเก็บข้อมูลจากเน็ตประชารัฐ 24,700 จุด และข้อมูลจากรายชื่อพื้นที่เป้าหมายภายใต้โครงการเน็ตชายขอบ และโครงการจัดให้มีบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในพื้นที่ห่างไกล สำนักงาน กสทช.
  • ข้อมูลจำนวนหมู่บ้านในการศึกษาครั้งนี้อยู่ที่ 73,939 อิงจากจำนวนหมู่บ้านในรายชื่อพื้นที่เป้าหมายภายใต้โครงการเน็ตชายขอบและโครงการจัดให้มีบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในพื้นที่ห่างไกล สำนักงาน กสทช. โดยไม่นับรวมจังหวัดกรุงเทพมหานคร
  • ข้อมูลจำนวนประชากรรายอำเภอจากสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2565 
  • ข้อมูลความสามารถในการรองรับอินเทอร์เน็ตหนึ่งจุดได้จากการโทรสอบถามศูนย์บริการข้อมูลและรับแจ้งเหตุขัดข้อง โครงการเน็ตประชารัฐ สายด่วน 1111 ต่อ 88 เมื่อวันที่ 30 มี.ค. 2566
ขอขอบคุณ
สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) สนับสนุนข้อมูลภายใต้โครงการเน็ตชายขอบและโครงการจัดให้มีบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในพื้นที่ห่างไกล
Created by logo_whiteximage